การบันทึกบัญชี - ด้านรับนำส่งเงิน

ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการน าเงินส่งคลัง พ.ศ. ๒๕๖๒

 

ที่ ประเภทเงิน ความหมาย
1 เงินรายได้แผ่นดิน  หมายความว่า เงินทั้งปวงที่หน่วยงานของรัฐจัดเก็บหรือได้รับไว้ เป็นกรรมสิทธิ์ตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือจากนิติกรรมหรือนิติเหตุและกฎหมายว่าด้วย เงินคงคลัง และกฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลังของรัฐ บัญญัติไม่ให้หน่วยงานของรัฐนั้น น าไปใช้จ่ายหรือหักไว้เพื่อการใด ๆ
2 เงินเบิกเกินส่งคืน  หมายความว่า เงินงบประมาณรายจ่ายที่ส่วนราชการเบิกจากคลังไปแล้ว แต่ไม่ได้จ่ายหรือจ่ายไม่หมด หรือจ่ายไปแล้วแต่ถูกเรียกคืน และได้
นำส่งคลังก่อนสิ้นปีงบประมาณ หรือก่อนสิ้นระยะเวลาเบิกเงินที่กันไว้เบิกเหลื่อมปี
3 เงินเหลือจ่ายปีเก่าส่งคืน หมายความว่า เงินงบประมาณรายจ่ายที่ส่วนราชการ เบิกจากคลังไปแล้ว แต่ไม่ได้จ่ายหรือจ่ายไม่หมด หรือจ่ายไปแล้วแต่ถูกเรียกคืน และได้
นำส่งคลัง ภายหลังสิ้นปีงบประมาณหรือภายหลังระยะเวลาเบิกเงินที่กันไว้เบิกเหลื่อมป
4 เงินนอกงบประมาณ หมายความว่า บรรดาเงินทั้งปวงที่หน่วยงานของรัฐจัดเก็บ หรือได้รับไว้ เป็นกรรมสิทธิ์ตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือจากนิติกรรมหรือนิติเหตุ หรือกรณีอื่นใด ที่ต้องน าส่งคลัง แต่มีกฎหมายอนุญาตให้สามารถเก็บไว้ใช้จ่ายได้โดยไม่ต้องน าส่งคลัง
     
 

หมวด ๖ การรับเงินของส่วนราชการ

ข้อ เกี่ยวกับ
ข้อ 69 -77 ใบเสร็จรับเงิน
ข้อ 78  การรับเงินให้รับผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment) ตามหลักเกณฑ์วิธีปฏิบัติ ที่กระทรวงการคลังก าหนด เว้นแต่กรณีที่มีเหตุขัดข้องหรือมีความจ าเป็นเร่งด่วนซึ่งไม่สามารถรับ ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment) ได้ ให้รับเป็นเงินสดหรือเช็ค หรือเอกสารแทนตัวเงินอื่น ที่กระทรวงการคลังก าหนด
ข้อ 79  ในการจัดเก็บหรือรับชำระเงิน ให้ส่วนราชการซึ่งมีหน้าที่จัดเก็บหรือรับช าระเงินนั้น ออกใบเสร็จรับเงิน หรือพิมพ์รายงานซึ่งเป็นหลักฐานการรับช าระเงินจากระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment) ตามที่กระทรวงการคลังก าหนด เว้นแต่เป็นการรับช าระเงินค่าธรรมเนียม ค่าบริการ หรือการรับเงินอื่นใดที่มีเอกสารของทางราชการระบุจ านวนเงินที่รับช าระอันมีลักษณะเช่นเดียวกับ ใบเสร็จรับเงิน โดยเอกสารดังกล่าวจะต้องมีการควบคุมจ านวนที่รับจ่ายท านองเดียวกันกับใบเสร็จรับเงิน หรือเป็นการรับเงินตามค าขอเบิกเงินจากคลัง หรือเป็นการได้รับดอกเบี้ยจากบัญชีเงินฝากธนาคาร ของส่วนราชการ...
ข้อ 80 ให้ใช้ใบเสร็จรับเงินเล่มเดียวกันรับเงินทุกประเภท เว้นแต่เงินประเภทใดที่มีการ รับช าระเป็นประจ าและมีจ านวนมากราย จะแยกใบเสร็จรับเงินเล่มหนึ่งส าหรับการรับช าระเงิน ประเภทนั้นก็ได้
ข้อ 81 ให้ส่วนราชการบันทึกข้อมูลการรับเงินในระบบภายในวันที่ได้รับเงิน

หมวด 8 การนำเงินสงคลังและฝากคลัง

ข้อ เกี่ยวกับ
ข้อ 99

              เงินที่เบิกจากคลัง ถ้าไม่ได้จ่ายหรือจ่ายไม่หมด ให้ส่วนราชการผู้เบิกน าส่งคืนคลัง ภายในสิบห้าวันทำการนับแต่วันรับเงินจากคลัง

              ในกรณีที่ส่วนราชการมีการรับคืนเงินที่ได้จ่ายไปแล้วเป็นเงินสดหรือเช็ค ให้น าส่งคืนคลังภายใน สิบห้าวันทำการนับแต่วันที่ได้รับคืน ยกเว้นกรณีมีการรับคืนเงินที่ได้จ่ายไปแล้วด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment) ให้น าส่งคืนคลังตามระยะเวลาที่กระทรวงการคลังกำหนด

              การนำเงินส่งคืนคลังตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ให้น าส่งผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment) ตามหลักเกณฑ์วิธีปฏิบัติที่กระทรวงการคลังกำหนด

ข้อ 100               การน าเงินส่งคลัง ถ้าน าส่งก่อนสิ้นปีงบประมาณหรือก่อนสิ้นระยะเวลาเบิกเงิน ที่กันไว้เบิกเหลื่อมปี ให้ส่วนราชการน าส่งเป็นเงินเบิกเกินส่งคืน แต่ถ้าน าส่งภายหลังก าหนดดังกล่าว ให้น าส่งเป็นรายได้แผ่นดินประเภทเงินเหลือจ่ายปีเก่าส่งคืน
ข้อ 101

 เงินทั้งปวงที่อยู่ในความรับผิดชอบของส่วนราชการให้น าส่งหรือน าฝากคลังภายใน ก าหนดเวลา ดังต่อไปนี้

๑) เช็ค หรือเอกสารแทนตัวเงินอื่น ให้น าส่งหรือน าฝากในวันที่ได้รับหรืออย่างช้าภายใน วันท าการถัดไป

(๒) เงินรายได้แผ่นดินที่ได้รับเป็นเงินสด ให้น าส่งอย่างน้อยเดือนละหนึ่งครั้ง แต่ถ้า ส่วนราชการใดมีเงินรายได้แผ่นดินเก็บรักษาในวันใดเกินหนึ่งหมื่นบาท ก็ให้น าเงินส่งโดยด่วนแต่อย่างช้า ต้องไม่เกินสามวันท าการถัดไป

(๓) เงินรายได้แผ่นดินที่รับด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment) ให้น าส่งภายในระยะเวลา ที่กระทรวงการคลังก าหนด

(๔) เงินเบิกเกินส่งคืน หรือเงินเหลือจ่ายปีเก่าส่งคืน ให้น าส่งภายในสิบห้าวันท าการนับแต่ วันรับเงินจากคลังหรือนับแต่วันที่ได้รับคืน

(๕) เงินนอกงบประมาณที่รับเป็นเงินสด ให้น าฝากคลังอย่างน้อยเดือนละหนึ่งครั้ง แต่ส าหรับ เงินที่เบิกจากคลังเพื่อรอการจ่าย ให้น าฝากคลังภายในสิบห้าวันท าการนับแต่วันรับเงินจากคลัง

หมวด 8 ส่วนที่ 2 วิธีการนำส่งคลัง

ข้อ เกี่ยวกับ
ข้อ 103

           วิธีการน าเงินส่งคลังหรือฝากคลัง ให้หน่วยงานผู้เบิกในส่วนกลาง หรือในส่วน ภูมิภาค น าส่งหรือน าฝากเงินผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Payment) ตามหลักเกณฑ์วิธีปฏิบัติ ที่กระทรวงการคลังก าหนด เพื่อเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของกรมบัญชีกลาง หรือของส านักงานคลังจังหวัด แล้วแต่กรณี

กรณีที่เป็นเงินสด หรือเช็ค หรือเอกสารแทนตัวเงินอื่น ให้จัดท าใบน าฝากเงิน พร้อมทั้ง น าเงินสด หรือเช็ค หรือเอกสารแทนตัวเงิน ฝากเข้าบัญชีเงินฝากธนาคารของกรมบัญชีกลาง หรือ ของส านักงานคลังจังหวัด แล้วแต่กรณี โดยปฏิบัติตามวิธีการที่กระทรวงการคลังก าหนด

 

ขั้นตอนการนำส่งในระบบรับนำส่ง New GFMIS THAI

การรับเงินของหน่วยงาน   RA - รายได้แผ่นดิน การนำส่งเงินของหน่วยงาน   R1 - รายได้แผ่นดิน
ประจำวันที่ ** **** **** วันที่ในใบนำฝาก ** **** ****
การอ้างอิง R65xxxxxxx (10 หลัก) การอ้างอิง R65xxxxxxx (10 หลัก)
ประเภทการรับเงิน RA - รายได้แผ่นดิน ประเภทเงินที่นำส่ง R1 - รายได้แผ่นดินของตนเอง
ข้อมูลทั่วไป กรณีเงินสด/เช็คผลประโยชน์
กรณีเงินฝากธนาคารเพื่อนำส่งคลัง
กรณีเงินฝากธนาคารรายบัญชีเพื่อนำส่งคลัง
ข้อมูลทั่วไป  
แหล่งของเงิน 2565 แหล่งของเงิน 2565
  6519200 ****   6519200 ***
รหัสรายได้ 652*** รหัสรายได้ 652  ค่าขายของเบ็ดเตล็ด
ชื่อบัญชี ค่าขายของเบ็ดเตล็ด***   ค่าขายของเบ็ดเตล็ด ***
รหัสบัญชีแยกประเภท 4202030105 รายการนำฝาก

กรณีเงินสด/เช็คผลประโยชน์**
กรณีเงินฝากธนาคารเพื่อนำส่งคลัง
กรณีเงินฝากธนาคารรายบัญชีเพื่อนำส่งคลัง

ชื่อบัญชี รายได้ค่าของเบ็ดเตล็ด    
    เลขที่ใบนำฝาก 112233445566778899 (16 หลัก)
เลขที่เอกสารผ่านรายการ 100000055 (10 หลัก) เลขที่เอกสารผ่านรายการ 120000055 (10 หลัก)
เดบิต 1101010101 เงินสดในมือ เดบิต 1101010112 พักเงินนำส่ง
เครดิต 4202030105 รายได้ค่าของเบ็ดเตล็ด เครดิต 1101010101 เงินสดในมือ
       
  • การรับชำระเงินด้วยเครื่อง EDC (เอกสารแนะนำของกรมบัญชีกลาง)
  • หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติในการจ่ายเงิน การรับเงิน และการนำเงินส่งคลังหรือฝากคลังของส่วนราชการผ่านระบบอิเล็กทรอกนิกส์ (e-Payment) กค 0402.2/ว 140 ลงวันที่ 19 สิงหาคม 2563 (พิมพ์)